ต้นแบบ การพัฒนาเมือง ในแนวคิด เขตเศรษฐกิจ พิเศษเมืองมหาชัย

ต้น แบบ การพัฒนาเมือง เมืองจูไห่ได้รับจัดตั้งเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษตั้งแต่ปี 2523 และได้ขยายพื้นที่เขตฯ ครอบคลุมทั้งเมืองตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2553
เรือ พ่อตั้งใจ อยากมีบ้านที่มีเป็นหนึ่ง และเรือคันงาม รถคันเก่ง จึงตัดสินใจ สร้างความเป็นไปได้ กรณี ศึกษาแผนธุรกิจ “นครปฐม โบ๊ท ลากูน” บุก นครปฐมทุ่มทุนกว่า 150 ล้านผุด “นครปฐมโบ๊ทลากูน”nakonparthomboatlagoon.blogspot.com
nakonparthomboatlagoon.blogspot.com
ความคิดเห็น
D-house Good
เขียนความคิดเห็น
เมืองจูไห่ได้รับจัดตั้งเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษตั้งแต่ปี 2523 และได้ขยายพื้นที่เขตฯ ครอบคลุมทั้งเมืองตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2553
ดร.สมัย เหมมั่น พันธกิจองค์กร (Corporate Mission) สร้างความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ลูกค้า ด้วยบริการที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล…
samaikub01yahoocom.blogspot.com
คุณและ Aree Kawinphuk ถูกใจสิ่งนี้
ความคิดเห็น
D-house Good
เขียนความคิดเห็น

ฟีดข่าว

เมืองจูไห่ได้รับจัดตั้งเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษตั้งแต่ปี 2523 และได้ขยายพื้นที่เขตฯ ครอบคลุมทั้งเมืองตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2553
ดร.สมัย เหมมั่น พันธกิจองค์กร (Corporate Mission) สร้างความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ลูกค้า ด้วยบริการที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล…
samaikub01yahoocom.blogspot.com
ความคิดเห็น
D-house Good
เขียนความคิดเห็น
ดร.สมัย เหมมั่น พันธกิจองค์กร (Corporate Mission) สร้างความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ลูกค้า ด้วยบริการที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล…
samaikub01yahoocom.blogspot.com
ความคิดเห็น
D-house Good
เขียนความคิดเห็น
แรกแรกเราก็ งง?? ว่ามันคืออะไร เห็นเต็มหน้าเฟสเลย
สนใจคลิ๊ก >>> https://goo.gl/zhJS3s
>>> https://goo.gl/zhJS3s
บอกตามตรงนะลำคาญมากๆอ่ะ จนวันนั้นเรามีปัญหาเรื่องเงินพอดีก็เลยกรอกไปเล่นๆ
สรุปคือเค้าให้เราคลิกๆในเว็บ 2-3 เว็บที่เขามีมาให้ เราก็ลองทำไปเล่นๆไม่คิดว่ามันจะได้หรอก พอทำไปได้อาทิตย์นึง ก็มีเงินโอนเข้าบัญชี 3,000 บาท...
ดูเพิ่มเติม

ฟีดข่าว

เศรษฐกิจพิเศษ เมือง สมุทรสาคร มีจริงหรือ และทำได้ไหม่ ข่าววันนี้
ตัวอย่าง เมืองจีน วันนี้
มณฑลกวางตุ้ง..
-1:01
รับชม 233 ครั้ง
D-house Good ที่ เขาค้อ เพรชบรูณ์
2559 ขอให้สุขภาพดีๆร่ำรวยๆวันนี้เยี่ยม พันตี สุภาพ อ่อนอุดม เขาค้อ ฟังชัดๆ ท่านนายทหาร เล่าถึงอากาศหนาวองค์แนวคิดบ่งชี้วัต องค์ประกอบแผนธุรกิจ การท่องเที่ยว เขาค้อ วันนี้
เศรษฐกิจพิเศษ เมือง สมุทรสาคร มีจริงหรือ และทำได้ไหม่ ข่าววันนี้
ตัวอย่าง เมืองจีน วันนี้
มณฑลกวางตุ้ง..
-1:03
รับชม 269 ครั้ง
D-house Good ได้เพิ่ม วิดีโอ ใหม่
2559 ขอให้สุขภาพดีๆร่ำรวยๆ หมอกมายังงัย มาฟังแนวคิดเกิดหมอก เขาค้อ วันนี้ ที่ไร่ละอองหมอก เขาค้อ วันนี้
แนวคิด เศรษฐกิจพิเศษ เมือง สมุทรสาคร มีจริงหรือ และทำได้ไหม่ ข่าววันนี้
ตัวอย่าง เมืองจีน วันนี้
มณฑลกวางตุ้ง..
-0:53
รับชม 1,167 ครั้ง
แนวคิด เศรษฐกิจพิเศษ เมือง สมุทรสาคร มีจริงหรือ และทำได้ไหม ข่าววันนี้
ตัวอย่าง เมืองจีน วันนี้
มณฑลกวางตุ้ง..
0:00
รับชม 376 ครั้ง
D-house Good ได้เพิ่ม วิดีโอ ใหม่
2559 ขอให้สุขภาพดีๆร่ำรวยๆ แน่ะนำ อากาศเขาค้อ น่าเที่ยวมากๆ
ความคิดเห็น
D-house Good
เขียนความคิดเห็น

ฟีดข่าว

แนวคิด เศรษฐกิจพิเศษ เมือง สมุทรสาคร มีจริงหรือ และทำได้ไหม ข่าววันนี้
ตัวอย่าง เมืองจีน วันนี้
มณฑลกวางตุ้ง..
ดร.สมัย เหมมั่น นักธุรกิจจัดสรรคุณภาพ ธรรมาภิบาลแห่งชาติ ได้เพิ่มรูปภาพใหม่ 4 ภาพ
แนวคิด เศรษฐกิจพิเศษ เมือง สมุทรสาคร มีจริงหรือ และทำได้ไหม ข่าววันนี้
ตัวอย่าง เมืองจีน วันนี้
มณฑลกวางตุ้ง
ข้อมูลพื้นฐาน
เมืองสำคัญ/เขตพัฒนาเศรษฐกิจ
การคมนาคมและโลจิสติกส์
เศรษฐกิจ
เมืองสำคัญ/เขตพัฒนาเศรฐกิจ
เขตพื้นที่สำคัญมณฑลกวางตุ้ง
1. นครกว่างโจว
นครกว่างโจว หรือ กวางเจา (广州) เป็นเมืองเอกของมณฑล กวางตุ้ง อีกทั้งเป็นเมืองยุทธศาสตร์ที่สำคัญของเขตสามเหลี่ยมเศรษฐกิจปากแม่น้ำจูเจียง (珠三角) ตลอดจนเป็นศูนย์กลาง การคมนาคมและ “ประตูการค้า” ที่สำคัญของจีนตอนใต้ นครกว่างโจวมีพื้นที่ 7,434 ตร.กม. มีประชากรกว่า 12.7 ล้านคน (มากที่สุดในมณฑลกวางตุ้ง) เป็นเมืองสำคัญในเขตเศรษฐกิจสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและเป็นศูนย์กลางทางการค้าและธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดของจีนตอนใต้ เศรษฐกิจของนครกว่างโจวมีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของจีน รองจากนครเซี่ยงไฮ้และกรุงปักกิ่ง
ในปี 2554 มีมูลค่า GDP รวม 1.23 ล้านล้านหยวน มีมูลค่า GDP ต่อหัว 89,082 หยวน และยังเป็นศูนย์กลางการค้าและการบริการ ที่สำคัญของจีน ทั้งในด้านการเงิน การค้า และการคมนาคมขนส่งของมณฑลกวางตุ้ง
2. เมืองเซินเจิ้น
เซินเจิ้นเป็นเมืองแรกของจีนที่รัฐบาลจีนจัดตั้งเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษในปี 2523 (ในระยะแรกครอบคลุมพื้นที่ 4 เขต 395.81 ตร.กม. ได้แก่ เขตฝูเถียน หลัวหู หนานซานและเหยียนเถียน) และตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค. 2553 ได้ขยายพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษครอบคลุมทั้งเมือง เมืองเซินเจิ้นยังเป็นที่ตั้งของตลาดหลักทรัพย์ (Shenzhen Stock Exchange) ในจีนนอกจากเซี่ยงไฮ้ และได้พัฒนาจนไม่มีเขตชนบทตั้งแต่ปี 2547
อุตสาหกรรมหลักของเมืองมี 4 ด้าน ได้แก่ เทคโนโลยีขั้นสูง การเงิน โลจิสติกส์ และอุตสาหกรรมด้านวัฒนธรรม รวมถึงเป็นฐานการผลิตสินค้าเทคโนโลยีและบริการที่มีชื่อเสียงของจีน อาทิ Huawei, ZTE, Lenovo, China Merchants Bank, Ping An
3. เมืองจูไห่
เมืองจูไห่ได้รับจัดตั้งเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษตั้งแต่ปี 2523 และได้ขยายพื้นที่เขตฯ ครอบคลุมทั้งเมืองตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2553
เป็นเมืองอุตสาหกรรมที่สำคัญในบริเวณพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียง (Pearl River Delta: PRD) ซึ่งมีพื้นที่ติดกับเขตบริหารพิเศษมาเก๊า และมีการสร้างเขตสาธิตความร่วมมือรูปแบบใหม่ระหว่างมณฑลกวางตุ้งและมาเก๊าในเขตใหม่เหิงฉิน ที่เน้นอุตสาหกรรมภาคการบริการขั้นสูง มีเส้นทางรถไฟความเร็วสูงเชื่อมกว่างโจว-จูไห่ ผ่านเมืองฝอซานและเจียงเหมิน ใช้เวลาเดินทางเพียง 45 นาที (ส่วนจากสถานีจูไห่เป่ยไปยังบริเวณด่านผ่านแดนก๋งเป่ยคาดว่าจะเปิดให้บริการได้ในปลายปีนี้หรือต้นปีหน้า) ในอนาคตจะสามารถเชื่อมกับมาเก๊าและฮ่องกงได้ด้วยทางถนนผ่านสะพานฮ่องกง-จูไห่-มาเก๊า ที่เริ่มลงมือก่อสร้างเมื่อวันที่ 15 ธ.ค. 2552 โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2559 ทำให้การเดินทางจากจูไห่ไปฮ่องกงรวดเร็วมากขึ้น
4. เมืองซ่านโถว
รัฐบาลจีนจัดตั้งซัวเถาเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษเมื่อวันที่ 16 ต.ค. 2524 โดยในระยะแรกครอบคลุมพื้นที่ 22.6 ตร.กม. ในเขตหลงหู ปี 2527 ขยายเป็น 52.6 ตร.กม. ปี 2534 ขยายเป็น 234 ตร.กม. และตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. 2554 ได้ขยายพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษครอบคลุมทั้งเมือง เมืองซัวเถาเป็นศูนย์กลางด้านการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของภาคตะวันออกของมณฑลกวางตุ้งและเป็นบ้านเกิดของชาวจีนโพ้นทะเลมากกว่า 3.4 ล้านคน ใน 40 กว่าประเทศ/ดินแดนทั่วโลก
เขตพัฒนาเศรษฐกิจที่สำคัญ
1. เขตสามเหลี่ยมเศรษฐกิจปากแม่น้ำจูเจียง (Pearl River Delta:PRD)
เป็นความร่วมมือทางเศรษฐกิจของ 9 เมือง ในมณฑลกวางตุ้งแถบที่ราบลุ่มแม่น้ำจูเจียง ประกอบด้วย นครกว่างโจว เมืองเซินเจิ้น เมืองฝอซาน เมืองจูไห่ เมืองตงกว่าน เมืองจงซาน เมืองเจียงเหมิน บางส่วนของเมืองจ้าวชิ่ง (เขตเมืองของ Zhaoqing, Gaoyao และ Sihui) และบางส่วนของเมืองหุ้ยโจว (เขตเมืองของ Huizhou, Huiyang County, Huidong County และ Boluo County) โดยเมืองศูนย์กลางที่สำคัญในกลุ่มคือ นครกว่างโจว เมืองเอกของมณฑลกวางตุ้ง และเมืองเซินเจิ้นซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษแรกของจีนที่ประสบความสำเร็จและเป็นแม่แบบให้กับเขตเศรษฐกิจพิเศษอื่น ๆ ของจีน ด้วยศักยภาพของเขตเศรษฐกิจสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงทำให้มณฑลกวางตุ้งมีบทบาททางเศรษฐกิจมากที่สุดในจีนมาเนิ่นนาน
2. เขตสหพื้นที่สามเหลี่ยมเศรษฐกิจปากแม่น้ำจูเจียง (Pan Pearl River Delta:PPRD)
เป็นการร่วมมือกันในการพัฒนาของ 9 มณฑลในประเทศจีน ประกอบด้วย 3 มณฑลชายฝั่ง คือ มณฑลกวางตุ้ง มณฑลไห่หนาน (ไหหลำ) มณฑลฝูเจี้ยน (ฮกเกี้ยน) 2 มณฑลตอนกลาง คือ มณฑลหูหนาน และมณฑลเจียงซี และ 4 มณฑลตอนใน คือ มณฑลเสฉวน มณฑลยูนนาน เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง และมณฑลกุ้ยโจว และร่วมมือกับอีก 2 เขตบริหารพิเศษของจีน คือ เมืองฮ่องกง และเมืองมาเก๊า รวมเรียกว่า "กลุ่ม 9+2 หรือ PPRD 9+2" ครอบคลุมพื้นที่ราว 1 ใน 5 ของประเทศจีน
3. เขตใหม่เหิงฉิน (横琴新区)
เขตใหม่เหิงฉิน ตั้งอยู่บนเกาะเหิงฉินทางใต้ของเมืองจูไห่ ใกล้กับมาเก๊า เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2551 ได้ผ่านการอนุมัติ “แผนพัฒนาโดยรวมของเหิงฉิน” จากคณะรัฐมนตรี โดยถูกวางยุทธศาสตร์ “1 ประเทศ 2 ระบบ” ซึ่งจะเป็นเขตสาธิตของความร่วมมือรูปแบบใหม่ระหว่างมณฑลกวางตุ้งและ มาเก๊า เขตใหม่เหิงฉินเน้นการพัฒนาภาคการให้บริการ โดยตั้งเป้าหมายภายในปี 2563 ให้มูลค่าการผลิตภาคการบริการมีสัดส่วนร้อยละ 75 ของGDP มุ่งเป้าพัฒนาอุตสาหกรรมการบริการขั้นสูง เป็นฐานให้บริการทางด้านธุรกิจ ศูนย์กลางการเงิน โลจิสติกส์ การท่องเที่ยวและพักผ่อน การวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และอุตสาหกรรมไฮเทคโนโลยีโดยยังคงรักษาสภาพนิเวศวิทยาเดิมที่สมบูรณ์ และมีการประยุกต์ใช้นวัตกรรมทางการเงินใหม่ ๆ ในเขตใหม่เหิงฉิน วันที่ 6 มีนาคม 2554 มณฑลกวางตุ้งและมาเก๊าได้ลงนามร่วมใน “ กรอบความตกลงร่วมมือระหว่างกวางตุ้งและมาเก๊า ” โดยในเบื้องต้นจะเป็นการร่วมสร้างนิคมอุตสาหกรรมความร่วมมือกวางตุ้ง-มาเก๊า พื้นที่ 86 ตร.กม. ประกอบไปด้วยนิคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีวิทยาศาสตร์ด้านแพทย์แผนจีน เขตรีสอร์ทเพื่อการพักผ่อน เขตนวัตกรรมด้านวัฒนธรรม และเขตให้บริการทางด้านธุรกิจ
4. เขตใหม่หนานซา นครกว่างโจว (广州南沙新区)
เป็นศูนย์กลางการบริการที่ครบวงจรและเป็นศูนย์กลางการคมนาคมใน บริเวณสามเหลี่ยมปาก แม่น้ำจูเจียง โดยเน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมหลัก ๆ 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการขนส่งทางทะเล การผลิตอุปกรณ์เครื่องจักร การค้นคว้าและวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การบริการทางด้านธุรกิจ และการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ เขตใหม่หนานซา เดิมเป็นเขตทำประมงและพัฒนาเป็นเขตท่าเรือ และด้วยความสะดวกของการเชื่อมโยงทางเส้นทางคมนาคมและการขนส่งสินค้า พร้อมทั้งศักยภาพในด้านกำลังคน ถูกออกแบบให้เป็น “เขตพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยี” (Economic and Technological Development Zone: ETDZ) ตามแผนแม่บทของการพัฒนานครกว่างโจว เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจจีนไปสู่ความก้าวหน้ายในศตวรรษที่ 21ได้พัฒนากลายเป็นเมืองท่าที่มีอัตราโดยเฉพาะ อาทิ ถนนด่วนพิเศษ 3 สาย ตามนโยบาย “five vertical, five horizontal” เชื่อมต่อหนานซากับ South China Expressway, Guangzhou-Shenzhen Expressway, Zhuhai Expressway, Luntou และเส้นทางรถไฟสายปักกิ่ง-กว่างโจว ที่จะเชื่อมต่อถึงเกาะ Longxue, ท่าเรือหนานซา ตลอดจนฐานการผลิตปิโตรเคมี เหล็ก และโลหะหนักในหนานซา
5. เขตความร่วมมืออุตสาหกรรมการบริการสมัยใหม่เซินเจิ้น-ฮ่องกง เฉียนไห่
เขตความร่วมมืออุตสาหกรรมการบริการสมัยใหม่เซินเจิ้น-ฮ่องกง เฉียนไห่ (前海深港现代服务业合作区) หรือ เขตพัฒนาเฉียนไห่ ตั้งอยู่ทางตะวันตกของเขตเศรษฐกิจพิเศษเซินเจิ้น เป็นส่วนหนึ่งของเขตหนานซา ซึ่งเขตดังกล่าวมีพื้นที่ประมาณ 15 ตารางกิโลเมตร มีความได้เปรียบด้านทำเลที่ตั้ง เขตพัฒนาเฉียนไห่ ด้านหลังชิดภูเขาด้านหน้าติดทะเล อีกทั้งยังอยู่ใกล้กับฮ่องกง นอกจากคุณสมบัติทางพื้นที่ตามธรรมชาติที่เอื้ออำนวยแล้ว ยังมีระบบการคมนาคมที่พร้อมสรรพ ถือได้ว่าเป็นพื้นที่ที่โดดเด่นอย่างมาก จึงเป็นพื้นที่ทางยุทธศาสตร์ความร่วมมือที่สำคัญระหว่างมณฑลกวางตุ้งกับฮ่องกง มีบทบาท 4 ด้าน ได้แก่ 1) เขตนวัตกรรมระบบการบริการสมัยใหม่ 2) เขตศูนย์รวมการพัฒนาอุตสาหกรรมการให้บริการสมัยใหม่ 3) เขตแบบอย่างความร่วมมือที่ใกล้ชิดระหว่างฮ่องกงและจีนแผ่นดินใหญ่ และ 4) เขตยกระดับการพัฒนาอุตสาหกรรมในเขตสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียง (PRD) เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม 4 ด้าน ได้แก่ การเงิน โลจิสติกส์สมัยใหม่ การบริการด้านข้อมูลข่าวสาร และการบริการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในปี 2563 มีการตั้งเป้าว่า เขตพัฒนาเฉียนไห่จะกลายเป็นศูนย์บริการผู้ผลิตที่สำคัญของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก และจะมีบทบาทสำคัญต่อโลกโดยจะเป็นฐานสำคัญของโลกในเรื่องการบริการทางอุตสาหกรรม โดยมีการตั้งเป้าผลผลิตมวลรวมมีมูลค่าสูงถึง 150,000 ล้านหยวนต่อปี นั่นคือเฉลี่ยแล้วพื้นที่แต่ละกิโลเมตรจะสามารถสร้างผลผลิตมวลรวมได้ถึง 10,000 ล้านหยวน
ดร.สมัย เหมมั่น นักธุรกิจจัดสรรคุณภาพ ธรรมาภิบาลแห่งชาติ ได้เพิ่มรูปภาพใหม่ 4 ภาพ
แนวคิด เศรษฐกิจพิเศษ เมือง สมุทรสาคร มีจริงหรือ และทำได้ไหม ข่าววันนี้
ตัวอย่าง เมืองจีน วันนี้
มณฑลกวางตุ้ง
ข้อมูลพื้นฐาน
เมืองสำคัญ/เขตพัฒนาเศรษฐกิจ
การคมนาคมและโลจิสติกส์
เศรษฐกิจ
เมืองสำคัญ/เขตพัฒนาเศรฐกิจ
เขตพื้นที่สำคัญมณฑลกวางตุ้ง
1. นครกว่างโจว
นครกว่างโจว หรือ กวางเจา (广州) เป็นเมืองเอกของมณฑล กวางตุ้ง อีกทั้งเป็นเมืองยุทธศาสตร์ที่สำคัญของเขตสามเหลี่ยมเศรษฐกิจปากแม่น้ำจูเจียง (珠三角) ตลอดจนเป็นศูนย์กลาง การคมนาคมและ “ประตูการค้า” ที่สำคัญของจีนตอนใต้ นครกว่างโจวมีพื้นที่ 7,434 ตร.กม. มีประชากรกว่า 12.7 ล้านคน (มากที่สุดในมณฑลกวางตุ้ง) เป็นเมืองสำคัญในเขตเศรษฐกิจสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและเป็นศูนย์กลางทางการค้าและธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดของจีนตอนใต้ เศรษฐกิจของนครกว่างโจวมีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของจีน รองจากนครเซี่ยงไฮ้และกรุงปักกิ่ง
ในปี 2554 มีมูลค่า GDP รวม 1.23 ล้านล้านหยวน มีมูลค่า GDP ต่อหัว 89,082 หยวน และยังเป็นศูนย์กลางการค้าและการบริการ ที่สำคัญของจีน ทั้งในด้านการเงิน การค้า และการคมนาคมขนส่งของมณฑลกวางตุ้ง
2. เมืองเซินเจิ้น
เซินเจิ้นเป็นเมืองแรกของจีนที่รัฐบาลจีนจัดตั้งเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษในปี 2523 (ในระยะแรกครอบคลุมพื้นที่ 4 เขต 395.81 ตร.กม. ได้แก่ เขตฝูเถียน หลัวหู หนานซานและเหยียนเถียน) และตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค. 2553 ได้ขยายพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษครอบคลุมทั้งเมือง เมืองเซินเจิ้นยังเป็นที่ตั้งของตลาดหลักทรัพย์ (Shenzhen Stock Exchange) ในจีนนอกจากเซี่ยงไฮ้ และได้พัฒนาจนไม่มีเขตชนบทตั้งแต่ปี 2547
อุตสาหกรรมหลักของเมืองมี 4 ด้าน ได้แก่ เทคโนโลยีขั้นสูง การเงิน โลจิสติกส์ และอุตสาหกรรมด้านวัฒนธรรม รวมถึงเป็นฐานการผลิตสินค้าเทคโนโลยีและบริการที่มีชื่อเสียงของจีน อาทิ Huawei, ZTE, Lenovo, China Merchants Bank, Ping An
3. เมืองจูไห่
เมืองจูไห่ได้รับจัดตั้งเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษตั้งแต่ปี 2523 และได้ขยายพื้นที่เขตฯ ครอบคลุมทั้งเมืองตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2553
เป็นเมืองอุตสาหกรรมที่สำคัญในบริเวณพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียง (Pearl River Delta: PRD) ซึ่งมีพื้นที่ติดกับเขตบริหารพิเศษมาเก๊า และมีการสร้างเขตสาธิตความร่วมมือรูปแบบใหม่ระหว่างมณฑลกวางตุ้งและมาเก๊าในเขตใหม่เหิงฉิน ที่เน้นอุตสาหกรรมภาคการบริการขั้นสูง มีเส้นทางรถไฟความเร็วสูงเชื่อมกว่างโจว-จูไห่ ผ่านเมืองฝอซานและเจียงเหมิน ใช้เวลาเดินทางเพียง 45 นาที (ส่วนจากสถานีจูไห่เป่ยไปยังบริเวณด่านผ่านแดนก๋งเป่ยคาดว่าจะเปิดให้บริการได้ในปลายปีนี้หรือต้นปีหน้า) ในอนาคตจะสามารถเชื่อมกับมาเก๊าและฮ่องกงได้ด้วยทางถนนผ่านสะพานฮ่องกง-จูไห่-มาเก๊า ที่เริ่มลงมือก่อสร้างเมื่อวันที่ 15 ธ.ค. 2552 โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2559 ทำให้การเดินทางจากจูไห่ไปฮ่องกงรวดเร็วมากขึ้น
4. เมืองซ่านโถว
รัฐบาลจีนจัดตั้งซัวเถาเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษเมื่อวันที่ 16 ต.ค. 2524 โดยในระยะแรกครอบคลุมพื้นที่ 22.6 ตร.กม. ในเขตหลงหู ปี 2527 ขยายเป็น 52.6 ตร.กม. ปี 2534 ขยายเป็น 234 ตร.กม. และตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. 2554 ได้ขยายพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษครอบคลุมทั้งเมือง เมืองซัวเถาเป็นศูนย์กลางด้านการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของภาคตะวันออกของมณฑลกวางตุ้งและเป็นบ้านเกิดของชาวจีนโพ้นทะเลมากกว่า 3.4 ล้านคน ใน 40 กว่าประเทศ/ดินแดนทั่วโลก
เขตพัฒนาเศรษฐกิจที่สำคัญ
1. เขตสามเหลี่ยมเศรษฐกิจปากแม่น้ำจูเจียง (Pearl River Delta:PRD)
เป็นความร่วมมือทางเศรษฐกิจของ 9 เมือง ในมณฑลกวางตุ้งแถบที่ราบลุ่มแม่น้ำจูเจียง ประกอบด้วย นครกว่างโจว เมืองเซินเจิ้น เมืองฝอซาน เมืองจูไห่ เมืองตงกว่าน เมืองจงซาน เมืองเจียงเหมิน บางส่วนของเมืองจ้าวชิ่ง (เขตเมืองของ Zhaoqing, Gaoyao และ Sihui) และบางส่วนของเมืองหุ้ยโจว (เขตเมืองของ Huizhou, Huiyang County, Huidong County และ Boluo County) โดยเมืองศูนย์กลางที่สำคัญในกลุ่มคือ นครกว่างโจว เมืองเอกของมณฑลกวางตุ้ง และเมืองเซินเจิ้นซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษแรกของจีนที่ประสบความสำเร็จและเป็นแม่แบบให้กับเขตเศรษฐกิจพิเศษอื่น ๆ ของจีน ด้วยศักยภาพของเขตเศรษฐกิจสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงทำให้มณฑลกวางตุ้งมีบทบาททางเศรษฐกิจมากที่สุดในจีนมาเนิ่นนาน
2. เขตสหพื้นที่สามเหลี่ยมเศรษฐกิจปากแม่น้ำจูเจียง (Pan Pearl River Delta:PPRD)
เป็นการร่วมมือกันในการพัฒนาของ 9 มณฑลในประเทศจีน ประกอบด้วย 3 มณฑลชายฝั่ง คือ มณฑลกวางตุ้ง มณฑลไห่หนาน (ไหหลำ) มณฑลฝูเจี้ยน (ฮกเกี้ยน) 2 มณฑลตอนกลาง คือ มณฑลหูหนาน และมณฑลเจียงซี และ 4 มณฑลตอนใน คือ มณฑลเสฉวน มณฑลยูนนาน เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง และมณฑลกุ้ยโจว และร่วมมือกับอีก 2 เขตบริหารพิเศษของจีน คือ เมืองฮ่องกง และเมืองมาเก๊า รวมเรียกว่า "กลุ่ม 9+2 หรือ PPRD 9+2" ครอบคลุมพื้นที่ราว 1 ใน 5 ของประเทศจีน
3. เขตใหม่เหิงฉิน (横琴新区)
เขตใหม่เหิงฉิน ตั้งอยู่บนเกาะเหิงฉินทางใต้ของเมืองจูไห่ ใกล้กับมาเก๊า เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2551 ได้ผ่านการอนุมัติ “แผนพัฒนาโดยรวมของเหิงฉิน” จากคณะรัฐมนตรี โดยถูกวางยุทธศาสตร์ “1 ประเทศ 2 ระบบ” ซึ่งจะเป็นเขตสาธิตของความร่วมมือรูปแบบใหม่ระหว่างมณฑลกวางตุ้งและ มาเก๊า เขตใหม่เหิงฉินเน้นการพัฒนาภาคการให้บริการ โดยตั้งเป้าหมายภายในปี 2563 ให้มูลค่าการผลิตภาคการบริการมีสัดส่วนร้อยละ 75 ของGDP มุ่งเป้าพัฒนาอุตสาหกรรมการบริการขั้นสูง เป็นฐานให้บริการทางด้านธุรกิจ ศูนย์กลางการเงิน โลจิสติกส์ การท่องเที่ยวและพักผ่อน การวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และอุตสาหกรรมไฮเทคโนโลยีโดยยังคงรักษาสภาพนิเวศวิทยาเดิมที่สมบูรณ์ และมีการประยุกต์ใช้นวัตกรรมทางการเงินใหม่ ๆ ในเขตใหม่เหิงฉิน วันที่ 6 มีนาคม 2554 มณฑลกวางตุ้งและมาเก๊าได้ลงนามร่วมใน “ กรอบความตกลงร่วมมือระหว่างกวางตุ้งและมาเก๊า ” โดยในเบื้องต้นจะเป็นการร่วมสร้างนิคมอุตสาหกรรมความร่วมมือกวางตุ้ง-มาเก๊า พื้นที่ 86 ตร.กม. ประกอบไปด้วยนิคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีวิทยาศาสตร์ด้านแพทย์แผนจีน เขตรีสอร์ทเพื่อการพักผ่อน เขตนวัตกรรมด้านวัฒนธรรม และเขตให้บริการทางด้านธุรกิจ
4. เขตใหม่หนานซา นครกว่างโจว (广州南沙新区)
เป็นศูนย์กลางการบริการที่ครบวงจรและเป็นศูนย์กลางการคมนาคมใน บริเวณสามเหลี่ยมปาก แม่น้ำจูเจียง โดยเน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมหลัก ๆ 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการขนส่งทางทะเล การผลิตอุปกรณ์เครื่องจักร การค้นคว้าและวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การบริการทางด้านธุรกิจ และการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ เขตใหม่หนานซา เดิมเป็นเขตทำประมงและพัฒนาเป็นเขตท่าเรือ และด้วยความสะดวกของการเชื่อมโยงทางเส้นทางคมนาคมและการขนส่งสินค้า พร้อมทั้งศักยภาพในด้านกำลังคน ถูกออกแบบให้เป็น “เขตพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยี” (Economic and Technological Development Zone: ETDZ) ตามแผนแม่บทของการพัฒนานครกว่างโจว เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจจีนไปสู่ความก้าวหน้ายในศตวรรษที่ 21ได้พัฒนากลายเป็นเมืองท่าที่มีอัตราโดยเฉพาะ อาทิ ถนนด่วนพิเศษ 3 สาย ตามนโยบาย “five vertical, five horizontal” เชื่อมต่อหนานซากับ South China Expressway, Guangzhou-Shenzhen Expressway, Zhuhai Expressway, Luntou และเส้นทางรถไฟสายปักกิ่ง-กว่างโจว ที่จะเชื่อมต่อถึงเกาะ Longxue, ท่าเรือหนานซา ตลอดจนฐานการผลิตปิโตรเคมี เหล็ก และโลหะหนักในหนานซา
5. เขตความร่วมมืออุตสาหกรรมการบริการสมัยใหม่เซินเจิ้น-ฮ่องกง เฉียนไห่
เขตความร่วมมืออุตสาหกรรมการบริการสมัยใหม่เซินเจิ้น-ฮ่องกง เฉียนไห่ (前海深港现代服务业合作区) หรือ เขตพัฒนาเฉียนไห่ ตั้งอยู่ทางตะวันตกของเขตเศรษฐกิจพิเศษเซินเจิ้น เป็นส่วนหนึ่งของเขตหนานซา ซึ่งเขตดังกล่าวมีพื้นที่ประมาณ 15 ตารางกิโลเมตร มีความได้เปรียบด้านทำเลที่ตั้ง เขตพัฒนาเฉียนไห่ ด้านหลังชิดภูเขาด้านหน้าติดทะเล อีกทั้งยังอยู่ใกล้กับฮ่องกง นอกจากคุณสมบัติทางพื้นที่ตามธรรมชาติที่เอื้ออำนวยแล้ว ยังมีระบบการคมนาคมที่พร้อมสรรพ ถือได้ว่าเป็นพื้นที่ที่โดดเด่นอย่างมาก จึงเป็นพื้นที่ทางยุทธศาสตร์ความร่วมมือที่สำคัญระหว่างมณฑลกวางตุ้งกับฮ่องกง มีบทบาท 4 ด้าน ได้แก่ 1) เขตนวัตกรรมระบบการบริการสมัยใหม่ 2) เขตศูนย์รวมการพัฒนาอุตสาหกรรมการให้บริการสมัยใหม่ 3) เขตแบบอย่างความร่วมมือที่ใกล้ชิดระหว่างฮ่องกงและจีนแผ่นดินใหญ่ และ 4) เขตยกระดับการพัฒนาอุตสาหกรรมในเขตสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียง (PRD) เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม 4 ด้าน ได้แก่ การเงิน โลจิสติกส์สมัยใหม่ การบริการด้านข้อมูลข่าวสาร และการบริการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในปี 2563 มีการตั้งเป้าว่า เขตพัฒนาเฉียนไห่จะกลายเป็นศูนย์บริการผู้ผลิตที่สำคัญของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก และจะมีบทบาทสำคัญต่อโลกโดยจะเป็นฐานสำคัญของโลกในเรื่องการบริการทางอุตสาหกรรม โดยมีการตั้งเป้าผลผลิตมวลรวมมีมูลค่าสูงถึง 150,000 ล้านหยวนต่อปี นั่นคือเฉลี่ยแล้วพื้นที่แต่ละกิโลเมตรจะสามารถสร้างผลผลิตมวลรวมได้ถึง 10,000 ล้านหยวน
คุณและ Aree Kawinphuk ถูกใจสิ่งนี้
ความคิดเห็น
D-house Good
D-house Good แนวคิด เศรษฐกิจพิเศษ เมือง สมุทรสาคร มีจริงหรือ และทำได้ไหม ข่าววันนี้

ตัวอย่าง เมืองจีน วันนี้

มณฑลกวางตุ้ง

ข้อมูลพื้นฐาน
เมืองสำคัญ/เขตพัฒนาเศรษฐกิจ
การคมนาคมและโลจิสติกส์
เศรษฐกิจ

เมืองสำคัญ/เขตพัฒนาเศรฐกิจ
เขตพื้นที่สำคัญมณฑลกวางตุ้ง
D-house Good
เขียนความคิดเห็น

ดร.สมัย เหมมั่น นักธุรกิจจัดสรรคุณภาพ ธรรมาภิบาลแห่งชาติ ได้เพิ่มรูปภาพใหม่ 2 ภาพ — ที่ มหาชัยยยย.!!
แนวคิด เศรษฐกิจพิเศษ เมือง สมุทรสาคร มีจริงหรือ และทำได้ไหม ข่าววันนี้
ตัวอย่าง เมืองจีน วันนี้
มณฑลกวางตุ้ง..
Aree Kawinphuk ถูกใจสิ่งนี้
ความคิดเห็น
D-house Good
เขียนความคิดเห็น
แนวคิด เศรษฐกิจพิเศษ เมือง สมุทรสาคร มีจริงหรือ และทำได้ไหม ข่าววันนี้
ตัวอย่าง เมืองจีน วันนี้
มณฑลกวางตุ้ง..

ฟีดข่าว

แนวคิด เศรษฐกิจพิเศษ เมือง สมุทรสาคร มีจริงหรือ และทำได้ไหม ข่าววันนี้
ตัวอย่าง เมืองจีน วันนี้
มณฑลกวางตุ้ง
...อ่านต่อ
ดร.สมัย เหมมั่น นักธุรกิจจัดสรรคุณภาพ ธรรมาภิบาลแห่งชาติ แนวคิด เศรษฐกิจพิเศษ เมือง สมุทรสาคร มีจริงหรือ และทำได้ไหม ข่าววันนี้
ตัวอย่าง เมืองจีน วันนี้
มณฑลกวางตุ้ง..
ดร.สมัย เหมมั่น นักธุรกิจจัดสรรคุณภาพ ธรรมาภิบาลแห่งชาติ
0:00
รับชม 376 ครั้ง
D-house Good ได้เพิ่ม วิดีโอ ใหม่
2559 ขอให้สุขภาพดีๆร่ำรวยๆ แน่ะนำ อากาศเขาค้อ น่าเที่ยวมากๆ
-0:53
รับชม 1,167 ครั้ง
-1:05
รับชม 270 ครั้ง
D-house Good ได้เพิ่ม วิดีโอ ใหม่
2559 ขอให้สุขภาพดีๆร่ำรวยๆ หมอกมายังงัย มาฟังแนวคิดเกิดหมอก เขาค้อ วันนี้ ที่ไร่ละอองหมอก เขาค้อ วันนี้
0:00
รับชม 233 ครั้ง
D-house Good ที่ เขาค้อ เพรชบรูณ์
2559 ขอให้สุขภาพดีๆร่ำรวยๆวันนี้เยี่ยม พันตี สุภาพ อ่อนอุดม เขาค้อ ฟังชัดๆ ท่านนายทหาร เล่าถึงอากาศหนาวองค์แนวคิดบ่งชี้วัต องค์ประกอบแผนธุรกิจ การท่องเที่ยว เขาค้อ วันนี้
-1:01
รับชม 233 ครั้ง
D-house Good ที่ เขาค้อ เพรชบรูณ์
2559 ขอให้สุขภาพดีๆร่ำรวยๆวันนี้เยี่ยม พันตี สุภาพ อ่อนอุดม เขาค้อ ฟังชัดๆ ท่านนายทหาร เล่าถึงอากาศหนาวองค์แนวคิดบ่งชี้วัต องค์ประกอบแผนธุรกิจ การท่องเที่ยว เขาค้อ วันนี้

ความคิดเห็น

  1. ต้นแบบ การพัฒนาเมือง ในแนวคิด เขตเศรษฐกิจ พิเศษเมืองมหาชัย
    nakonparthomboatlagoon.blogspot.com
    ดร.สมัย เหมมั่น นักธุรกิจจัดสรรคุณภาพ ธรรมาภิบาลแห่งชาติ 10 ชม. · ต้น แบบ การพัฒนาเมือง เมืองจูไห่ได้รับจัดตั้งเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษตั้งแต่ปี 2523 และได้ขยายพื้นที่เขตฯ ครอบคลุมทั้ง

    ตอบลบ

แสดงความคิดเห็น